รัฐไทยกับการปฏิรูปเศรษฐกิจ จากกำเนิดทุนนิยมนายธนาคารถึงวิกฤตเศรษฐกิจ 2540

รัฐไทยกับการปฏิรูปเศรษฐกิจ จากกำเนิดทุนนิยมนายธนาคารถึงวิกฤตเศรษฐกิจ 2540

0.00 Avg rating0 Votes
Publisher: ฟ้าเดียวกัน
Genres: เศรษฐศาสตร์การเมือง, รัฐศาสตร์
Authors:
Pages: 386 pages
Binding: Softcover
ISBN13: 9786167667218
Available: 3

ยืมหนังสือเล่มนี้

ความสำเร็จของการปฏิรูปเศรษฐกิจในยุคแรก (2493-2506) นั้นแยกไม่ออกจากการที่รัฐไทยถูกปรับเปลี่ยนให้มีความเข้มแข็งมากขึ้นในช่วง รอยต่อระหว่างรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามกับจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชด์ ขณะที่ความอ่อนตัวลงของรัฐไทยในทศวรรษ 2520 ถึงปี 2540 เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ส่วนความล้มเหลวในการปฏิรูปเศรษฐกิจในทศวรรษสุดท้ายเป็นเพราะการปฏิรูปตัว เองของรัฐให้เข้มแข็งขึ้นนับแต่หลังเหตุการณ์พฤษภาเลือด 2535 เป็นต้นมาไม่ประสบความสำเร็จ (อภิชาต สถิตนิรามัย)
หนังสือวิชาการเล่มแรกในโลกภาษาไทยที่ใช้มโนทัศน์ "ความเข้มแข็งความอ่อนแอของรัฐ" มาอธิบายความเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจการเมืองไทย ภายใต้กรอบที่ว่านี้ ผู้เขียนได้ค้นคว้าเอกสารหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็นจำนวนมากเพื่อทำความ เข้าใจพลวัตทุนนิยมไทยในระยะ 60 ปี เริ่มต้นตั้งแต่ทศวรรษ 2490 ซึ่งผู้เขียนเสนอว่าเป็นช่วงเวลาสำคัญที่มีการปฏิรูปรัฐไทยภายใต้รัฐบาลจอม พล ป.พิบูลสงครามและบริบทสงครามเย็นอันเป็นฐานที่จำเป็นในการพัฒนาเศรษฐกิจยุค จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ต่อเนื่องมาผ่านยุคเผด็จการทหาร-ประชาธิปไตยเบ่งบาน-เผด็จการขวา จัด-ประชาธิปไตยครึ่งใบ-ประชาธิปไตยเต็มใบ-รัฐบาลไทยรักไทยหลังมีรัฐธรรมนูญ 2540 และวิกฤตเศรษฐกิจ ซึ่งมาบัดนี้ก็ยังไม่สามารถเกิดการปฏิรูปครั้งใหม่ รวมทั้งยังไม่มีวิถีการสะสมทุนที่มาแทนที่ทุนนิยมนายธนาคารอันล่มสลายไปแล้ว ได้

Reviews

Required fields are marked *. Your email address will not be published.

ร่วมสนับสนุนมูลนิธิคณะก้าวหน้า

ร่วมค้นหาอนาคตใหม่ให้ไทยทุกคน

สนับสนุนมูลนิธิ